Load Balancer เป็นอุปกรณ์ที่กระจายการรับส่งข้อมูลเครือข่ายหรือแอปพลิเคชั่น และปรับปรุงการตอบสนองโดยเพิ่มความพร้อมใช้งานของแอปพลิเคชั่น
Load Balancer น้ันอยู่ระหว่าง Client และ Server Fram ที่ยอมรับเครือข่ายขาเข้าและปริมาณการใช้งานของ Application โดยกระจายการรับส่งข้อมูลไปยัง Server ที่เป็น Backend หลายเครื่องโดยใช้วิธีการตาม Algorithum ต่างๆ เช่น Round-Robin LeastConnection เป็นต้น ด้วยหลักการปรับสมดุลการร้องขอของ Application
เมื่อมีการเรียกเข้าใช้งานเว็บไซต์หรือ Application ในเวลาเดียวกันในปริมาณที่สูงมากๆ เกินกว่าที่ระบบจะรองรับไหว
เมื่อเว็บเซิร์ฟเวอร์มีปัญหาล่มอยู่บ่อยๆทำให้ไม่สามารถเรียกใช้งานได้
ใช้คุณสมบัติของ Load Balancer มาทำหน้าที่ในการเป็น DDOS Protection ให้กับระบบของเว็บไซต์หรือ Application
การทำ Load Balancer อย่างน้อยหนึ่งตัว วางหน้า Server ที่เป็น Web Server เพื่อรองรับ Request จาก User เมื่อมี Request เข้ามา ตัว Load Balancer จะทําการ Forward Request ไปยัง Serverโดยเป็นการกระจายแบ่งตามเซิร์ฟเวอร์ที่มีอยู่ให้สมดุลและสามารถตรวจสอบและนับจำนวนคนเข้าชมเว็บไซต์ได้อีกด้วย
Load Balancer Layer 4 จะมองเห็นข้อมูลเครือข่าย Protocol (TCP / UDP) Load Balancer Traffic โดยรวมข้อมูลเครือข่ายที่ จำกัด นี้เข้ากับอัลกอริธึม เช่น Round-Robin, LeastConnection และโดยการคำนวณเซิร์ฟเวอร์ปลายทางที่ดีที่สุดตามการเชื่อมต่อน้อยที่สุดหรือเวลาตอบสนองของเซิร์ฟเวอร์
Load Balancer Layer 7 การทำงานในระดับ Application และสามารถใช้ข้อมูล Application เพิ่มเติมนี้เพื่อทำการตัดสินใจในการทำ Load Balancer ที่ซับซ้อนและมีข้อมูลมากขึ้น ด้วยโปรโตคอลเช่น HTTP, HTTPS โดย Load Balancer Layer 7 สามารถระบุ Session Client ตามคุกกี้และใช้ข้อมูลนี้เพื่อส่งคำขอ Client ทั้งหมดไปยัง Server เดียวกัน
Concurrent | |
Bandwidth | |
Private IP | |
Public IP | |
TCP or UDP Based Protocol | |
Round Robin,LeastConnection | |
HTTP, HTTPS Protocol | |
SSL,TLS Certificates | |
DDOS mitigation both at Layer 4 & 7 | |
HTTP & SYN Flood Protection | |
Secure, SSH, HTTP and HTTPS for Remote Access Root |
|
Support Services 24 x 7 |
Concurrent | |
Bandwidth | |
Private IP | |
Public IP | |
TCP or UDP Based Protocol | |
Round Robin,LeastConnection | |
HTTP, HTTPS Protocol | |
SSL,TLS Certificates | |
DDOS mitigation both at Layer 4 & 7 | |
HTTP & SYN Flood Protection | |
Secure, SSH, HTTP and HTTPS for Remote Access Root |
|
Support Services 24 x 7 |
Concurrent | |
Bandwidth | |
Private IP | |
Public IP | |
TCP or UDP Based Protocol | |
Round Robin,LeastConnection | |
HTTP, HTTPS Protocol | |
SSL,TLS Certificates | |
DDOS mitigation both at Layer 4 & 7 | |
HTTP & SYN Flood Protection | |
Secure, SSH, HTTP and HTTPS for Remote Access Root |
|
Support Services 24 x 7 |
Concurrent | |
Bandwidth | |
Private IP | |
Public IP | |
TCP or UDP Based Protocol | |
Round Robin,LeastConnection | |
HTTP, HTTPS Protocol | |
SSL,TLS Certificates | |
DDOS mitigation both at Layer 4 & 7 | |
HTTP & SYN Flood Protection | |
Secure, SSH, HTTP and HTTPS for Remote Access Root |
|
Support Services 24 x 7 |
Concurrent | |
Bandwidth | |
Private IP | |
Public IP | |
TCP or UDP Based Protocol | |
Round Robin,LeastConnection | |
HTTP, HTTPS Protocol | |
SSL,TLS Certificates | |
DDOS mitigation both at Layer 4 & 7 | |
HTTP & SYN Flood Protection | |
Secure, SSH, HTTP and HTTPS for Remote Access Root |
|
Support Services 24 x 7 |
Concurrent | |
Bandwidth | |
Private IP | |
Public IP | |
TCP or UDP Based Protocol | |
Round Robin,LeastConnection | |
HTTP, HTTPS Protocol | |
SSL,TLS Certificates | |
DDOS mitigation both at Layer 4 & 7 | |
HTTP & SYN Flood Protection | |
Secure, SSH, HTTP and HTTPS for Remote Access Root |
|
Support Services 24 x 7 |
ทั่วไป
What is a Load Balancer ?
ระบบที่ทำหน้าที่ในการกระจาย Request จาก User แต่ละคนไปยัง Server จำนวนหลายๆ เครื่อง เพื่อให้ Server แต่ละเครื่องให้บริการ User แต่ละคนได้ตามประสิทธิภาพที่ตนเองมี หรือเพื่อลด Downtime ของระบบโดยให้ Server เครื่องที่ยังสามารถให้บริการ User ได้คอยรับ Request จาก User แทนเครื่อง Server ที่หยุดทำงานไปแล้ว
ทำไมต้องใช้ Load Balancer ?
เพราะความต้องการใช้งานที่เพิ่มขึ้น ทำให้คุณต้องหาวิธีการรองรับ เพื่อไม่ให้เกิดปัญหา Over Load จนเครื่องเซิร์ฟเวอร์ของคุณทั้ง Web Server, Application Server หรือ Database Server ไม่สามารถให้บริการได้ การทำ Server Load Balancer เป็นอีกวิธีการหนึ่งที่จะสามารถช่วยแก้ปัญหาได้ โดยที่ไม่จำเป็นต้องซื้อเครื่องที่ spec สูงมากๆ ซึ่งมีราคาแพงมาเปลี่ยนแทนเครื่องเดิม แต่สามารถใช้เครื่องที่ spec เท่าๆกันหลายเครื่อง มาทำงานร่วมกันแทน โดยการทำ Load Balancer ในบางกรณีจะทำให้ได้ ระบบมีประสิทธิภาพสูงและความเสถียรมากกว่าการใช้เครื่องใหญ่ๆ เครื่องเดียวอีกด้วย
เพิ่มประสิทธิภาพให้ระบบ Application แบบ Scale-out ด้วยการทำ Load Balancing
การทำ Load Balancerร่วมกันระหว่าง Server หลายๆ เครื่อง ในการกระจายโหลดตามประสิทธิภาพของแต่ละเครื่อง เพื่อให้ Server หลายๆ เครื่องช่วยกันให้บริการ User หลายๆ คนพร้อมๆ กัน โดย User แต่ละคนยังถูก Redirect ไปยังเครื่อง Server เครื่องที่ตนเองมี Session อยู่เสมอ
Load Balancer มีหลายประเภทแต่ที่นิยมกันและนำมาใช้ในการกระจายภาระงาน
1.Round Robin เป็นกระบวนการกระจายภาระงานแบบวนรอบ แบบเข็มนาฬิกาที่ชี้ตัวเลข 1-12 แล้วกลับไปชี้ตัวเลข 1 อีกครั้ง เป็นการกระจายเรียงตามลำดับ 1,2,3,4,..... แล้วกลับไปที่การร้องขอให้ตัวแรกตัวที่ 1 เมื่อมีการทำงานครบ
2.Sticky เป็นการส่ง Traffic โดยยึดติดกับ Session ที่ User เคยเข้าไปใช้งานกับเครื่อง Server นั้นๆ อยู่
3.Work load เป็นการส่ง Traffic โดยดูการทำงานของ Performance เครื่อง Server เป็นหลักถ้าเครื่อง Server ทำการไม่สามารถรับ Concurrent ไหวแล้วจะส่งไปยังอีกเครื่องที่สามารถรองรับการทำงานได้
Load Balancer ป้องกัน DDOS Protaction?
1.Load Balancer สามารถป้องกันการใช้งานในส่วนของ Traffic Bandwidth
2.กำหนดค่าป้องกัน IP ที่ได้มีการติด Blacklist เข้ามาใช้งาน
3.สามารถ Block IP ที่มีการโจมตี
4.มีฟังช์ชั่นในการเขียน ACL เพื่อระบุการโจมตีจาก Bots
5.ช่วยป้องกันการโจมตี Syn Flood ในการเชื่อมต่อของระบบ
Software ที่ใช้บริหารจัดการ Load Balancer เป็น Software ชนิดใด ?
Haproxy Opensource
Load Balancer รองรับการใช้งาน SSL หรือไม่ ?
รองรับการทำงาน SSL และ TLS ซึ่งสามารถทำจากเครื่อง Load Balancer เครื่องเดียวจะทำการเข้า รหัสไปยังเครื่องที่มีการกระจายโหลดไปยังเครื่องเซิร์ฟเวอร์นั้นๆ
Load Balancer สามารถมอนิเตอร์การใช้งาน ได้หรือไม่ ?
มี URL ในส่วนการติดตาม จะแสดงให้เห็นถึงสถานะของ User ที่ได้มีการใช้งานของแต่ละโหลดเซิร์ฟเวอร์นั้นๆ เพื่อบอกการทำงาน รวมถึงการบอกว่าเครื่องเซิร์ฟนั้นใช้งานได้หรือไม่ได้
Public IP และ Private IP สามารถใช้ได้หรือไม่ ?
สามารถใช้งานได้ทั้ง Public IP และ Private IP การทำงานของ Public IP นั้นจะมีเป็นการใช้งานซึ่งกรณีที่มี Site webserver อยู่แล้ว อยากจะทำ Site เพิ่มเพื่อให้รองรับการทำงาน ซึ่งมีการ Connection เข้ามาพร้อมกันและมีการกระจายโหลด ไปแต่ละเครื่องซึ่งการทำงานแบบนี้จะไม่ Stable และจะมีปัญหาตามมาทั้ง Traffic Connection ส่วน Private IP นั้นจะเป็นการทำงานภายใต้ Infra นั้นๆซึ่งจะทำงานได้ดีกว่าเพราะเป็นการวิ่งของเน็ตเวิร์ดภายใน
Redis คืออะไรและมาเกี่ยวข้องกับ Load Balancer ได้อย่างไร
Redis เป็นตัวเก็บข้อูมลลง Memory ด้วยความที่เป็น Key,Value ใช้กับงานที่ต้องการความไว เช่น การนับยอดคนที่ใช้งาน Concurrent หนักๆ การอ่านเขียนหนักๆ ซึ่ง Redis จะเป็น NoSQL
HTTP/HTTPS Sesion persistence เก็บไว้ที่ไหน ?
เก็บไว้ที่ Redis โดยการนำตัว Software มา Config เพื่อให้เก็บ Session เพื่อให้ระบบทำการได้ Stable มากยิ่งขึ้น
ถ้าอยากระบุ Max Concurrent ที่อยากให้รองรับการใช้งานนั้นสามารถจัดการให้ได้หรือไม่?
สามารถจัดการระบบให้ได้ สามารถติดต่อเจ้าหน้าที่ได้ตลอด 24 ชม ที่เบอร์โทร 02 055 1095
เมื่อระบบ Down Time จะรู้ได้ไงและจะใช้เวลานานไหมในการแก้ไข ?
ทางเรามีบริการ Managed Server Services ซึ่งรองรับการทำงานเมื่อเกิดปัญหาขึ้นจะมี Alert แจ้งเตือนพร้อมเจ้าหน้าที่คอยแก้ไขระบบ ซึ่งปัญหาที่เกิดขึ้นนั่นเวลาจะขึ้นอยู่กับปัญหาที่เกิดขึ้นซึ่งการดำเนินการจะทำงาน ภายใต้ SLA เพื่อให้ก่อให้เกิดความมั่นใจในการใช้งาน รวมทั้งมีการแจ้ง Report รายงานให้ท่านทุกเดือน
Backup มีหรือไม่ ?
การ Backup นั้นจะเป็นการ Daily Backup ในกรณีที่ระบบมีปัญหาจะใช้เวลาในส่วนของการกู้คืนจะใช้เวลาไม่เกิน ตาม SLA กำหนด
ลูกค้าสามารถ Monitor ระบบได้เองหรือไม่ เพื่อทำการวิเคราะห์การใช้งาน ?
สามารถวิเคราะห์การทำงานได้เองโดยสามารถ Monitor ผ่านตัว URL Statistic Report ที่ได้มีการ Config ไว้เพื่อให้ตรวจสอบถึงจำนวนใช้งานว่ามีการใช้งานมากน้อยเพียงใด และเพื่อให้วิเคราะห์ทรัพยากรให้รองรับการเติมโตของผู้ใช้งาน
การสั่งซื้อและการชำระบริการ Expand All
มีวิธีการแจ้งชำระค่าบริการทางไหนบ้าง อย่างไร
คุณสามารถเลือกชำระค่าบริการได้ 5 วิธี
1. โอนเงินผ่านธนาคาร หรือตู้ ATM รายละเอียดธนาคาร ที่นี่
2. ชำระเงินออนไลน์ผ่านบัตรเครดิต / Quick Link ชำระเงินผ่านบัตรเครดิต
3. ชำระเงินผ่านเช็คโดยนำเช็คเข้าบัญชี หรือแจ้งพนักงานเพื่อกำหนดวันไปรับเช็ค (ยอดไม่ต่ำกว่า 5,000 บาท) หมายเลข 02-055-1095
4. ชำระเงินด้วยบัญชี PromptPay 0135539003143 (เลขประจำตัวผู้เสียภาษี)
5. ชำระเงินผ่าน PayPal (Account Paypal: billing@netway.co.th) รายละเอียดเพิ่มเติม ที่นี่
หลังจากที่ชำระเงินผ่านช่องทางใดช่องทางหนึ่งแล้ว รบกวนส่งคำยืนยันการชำระเงินมาที่ payment@netway.co.th หรือ Online : ยืนยันการชำระเงิน หากไม่สามารถทำการชำระเงินผ่านวิธีใดวิธีหนึ่งได้ รบกวนติดต่อมายังเจ้าหน้าที่ที่หมายเลข 02-055-1095
ชำระเงินแล้วต้องยืนยันการชำระเงินหรือไม่
หลังจากที่ลูกค้าชำระเงินผ่านช่องทางใดช่องทางหนึ่งแล้ว รบกวนส่งคำยืนยันการชำระเงินมาที่ payment@netway.co.th หรือ Online : ยืนยันการชำระเงิน เพื่อส่งคำร้องถึงเจ้าหน้าที่ในการดำเนินการต่ออายุ Service ให้กับลูกค้า
สามารถหักภาษี หัก ณ.ที่จ่ายได้หรือไม่
ค่าบริการทุกประเภทของการให้บริการของเรา ถือเป็นค่าบริการ ซึ่งสามารถหัก ณ.ที่จ่ายได้โดยแบ่งเป็น
• นิติบุคคล สามารถหักภาษี ณ.ที่จ่ายได้ 3%
• ราชการ สามารถหักภาษี ณ.ที่จ่ายได้ 1%
• บุคคลธรรมดาไม่สามารถหักภาษี ณ.ที่จ่ายได้
หลังจากชำระเงินแล้วจะได้เอกสารใบกำกับภาษี / ใบเสร็จรับเงิน กี่วัน
หลังจากที่ลูกค้าชำระเงินและยืนยันการชำระเงินเรียบร้อยแล้ว รายละเอียดของการจัดส่งเอกสาร
• กรณี ที่ทำการหักภาษี ณ.ที่จ่าย ทางเราจะจัดส่งเอกสารใบกำกับภาษี / ใบเสร็จรับเงิน หลังจากได้รับใบภาษีหัก ณ.ที่จ่าย (แบบต้นฉบับ) เรียบร้อยแล้ว ภายใน 3-5 วันทำการ
• กรณีที่ไม่ได้ทำการหักภาษี ณ.ที่จ่าย ทางเจ้าหน้าที่จะจัดส่งเอกสารให้ลูกค้าตาม Billing Contact ที่ลูกค้าให้ไว้ ทางไปรษณีย์ ภายใน 3-5 วันทำการ
ไม่ชำระภาษีมูลค่าเพิ่มได้หรือไม่
เนื่องจากทางเราได้จดทะเบียนในรูปบริษัท จึงจำเป็นจะต้องเก็บภาษีมูลค่าเพิ่ม พร้อมทั้งออกใบกำกับภาษี / ใบเสร็จรับเงินให้ลูกค้า
ต้องการเปลี่ยนแปลงที่อยู่ในการออกใบกำกับภาษี / ใบเสร็จรับเงิน
คุณสามารถทำได้ 3 กรณี คือ
• ลูกค้าสามารถส่งเมล์เข้ามาแจ้งเจ้าหน้าที่ได้ที่ support@netway.co.th (อีเมลที่ใช้แจ้งต้องเป็นเมล์ Contact ที่ติดต่อกับ Netway เท่านั้น)
• กรณีที่ลูกค้าได้รับใบเสร็จรับเงิน/ใบกำกับภาษีแล้ว ลูกค้าต้องส่งเอกสารที่ได้รับ พร้อมกับแจ้งที่อยู่ที่ต้องการเปลี่ยนแปลง ส่งกลับมาให้ทางบริษัทฯ เราจะดำเนินการแก้ไขและจัดส่งเอกสารให้ท่านอีกครั้ง ตามที่อยู่ที่ลูกค้าแจ้งเข้ามา
• ติดต่อเจ้าหน้าที่ หมายเลข 02-055-1095
หากไม่ได้รับเอกสารใบกำกับภาษี / ใบเสร็จรับเงิน จะต้องทำอย่างไร
สามารถเกิดขึ้นได้หลายกรณี ดังนี้
• จะต้องตรวจสอบเบื้องต้นว่าลูกค้ามีการหักภาษี ณ.ที่จ่ายหรือไม่ ถ้ามี ได้จัดส่งเอกสารมาให้ทางเราแล้วหรือยัง
• มีการเปลี่ยนแปลงที่อยู่ รบกวนตรวจสอบเอกสารที่ถูกส่งไปยังที่อยู่เดิมก่อน
• เอกสารสูญหาย อันเกิดจากการเปลี่ยนแปลงที่อยู่ หรือด้วยเหตุสุดวิสัยอื่น ๆ รบกวนลูกค้าแจ้งมายังเจ้าหน้าที่ของเรา หมายเลข 02-055-1095 เพื่อทำการเปลี่ยนที่อยู่จัดส่งให้ถูกต้อง จากนั้นเจ้าหน้าที่จะออกเอกสาร เป็นใบแทนส่งไปให้ลูกค้าอีกครั้งค่ะ
ข้อมูลทั่วไป Expand All
ช่องทางติดต่อเจ้าหน้าที่ของเรา มีช่องทางไหนบ้าง
ลูกค้าสามารถติดต่อกับทางเราทั้งทางด้านขาย / แจ้งชำระเงิน / แจ้งปัญหาการใช้งาน
• (66) 2055- 1095
• (66) 2055-1098
• support@netway.co.th
• Live Chat