เน็ตเวย์ฯ มีข้อมูลข่าวสามารถจากผู้ให้บริการระดับโลกอย่าง Facebook มาบอก !!!! Facebook ได้ออก Privacy Policy เพื่อป้องกันข่าวสารปลอม (Fake News) เพื่อนำไปสู่การตรวจสอบความเป็นเจ้าของบนหน้าบริการ Facebook Page เพื่อยืนยันความเป็นเจ้าของเพจ การตรวจสอบยืนยันโดเมนคืออะไร เป็นวีธีที่ให้คุณอ้างอิงสิทธิ์ความเป็นเจ้าของโดเมนของคุณในการจัดการธุรกิจของคุณ (คลิกที่นี่ เพื่อเข้าเพจแอดมิดของคุณ) คุณสามารถควบคุมการแก้ไขลิงก์และเนื้อหารวมไปถึงข้อมูลอื่นๆ เพื่อป้องกันมิจฉาชีพใช้ข้อมูลธุระกิจของเราได้ การตรวจสอบยืนยันโดเมนมีไว้สำหรับใครทำแล้วได้อะไร การตรวจสอบยืนยันโดเมน/เวบไซต์ว่าเป็นของคุณ และเป็นวิธีที่ดีที่สุดในการจัดการความเป็นเจ้าของและความสามารถต่างๆ คุณมีเพจจำนวนมากซึ่งทำให้การดูแลด้วยแท็กมาร์กอัพ Open Graph ด้วยตนเองเป็นไปได้ยาก คุณได้ใช้หรือมีความสามารถในการใช้ตัวจัดการธุรกิจเพื่อจัดการองค์ประกอบของชิ้นงานโฆษณาของคุณ คุณมีความสามารถในการอัพโหลดไฟล์ HTML ไปยังไดเรกทอรีหลักของเว็บหรือความสามารถในการแก้ไขระเบียน DNS TXT คุณสามารถแก้ไขโพสต์บนเพจของลิงก์ที่เชื่อมโยงกับเนื้อหาที่คุณเป็นเจ้าของได้ ในท้ายที่สุดแล้วความเป็นเจ้าของจะทำหน้าที่เป็นตัวกำหนดว่าใครมีสิทธิ์เข้าถึงการแก้ไขลิงก์ได้ คุณต้องการควบคุมว่าใครบ้างที่จะสามารถแก้ไขคำอธิบายลิงก์ในโฆษณาที่ชี้ไปยังโดเมนของคุณ ขั้นตอนการตรวจสอบโดเมน (Verify Domain Facebook Page) สำหรับการยืนยันความเป็นเจ้าของเราสามารถเลือกทำได้อย่างใดอย่างนึ่งดังนี้ตามที่เราสะดวก DNS Verification และ HTML file Upload สามารถดูรายละเอียดและขั้นตอน Facebook Page Official ได้ที่ Click >> Verifying your Domain จดโดเมนกับเน็ตเวย์ฯ สั่งซื้อโดเมนได้ทันที สั่งซื้อ Domain Name หรือติดต่อ Line : @netway (มี @ ด้านหน้า) หรือ https://bit.ly/line-netway Facebook : m.me/netway.offcial Tel : 02-0551095Email : support@netway.co.th Web Chat : https://netway.co.th/ #เน็ตเวย์ช่วยคุณได้ #Support24ชั่วโมง
DNS Management คือ ระบบจัดการค่าต่างๆภายใน Nameserver เช่น ชี้ค่าไปที่โฮสติ้ง ตั้งค่าอีเมลให้รองรับ Google Apps ฯลฯ ซึ่งใช้ได้เฉพาะโดเมนที่ใช้งาน Nameserver ของเราเท่านั้น การเปลี่ยนแปลงค่า DNS นั้นจะส่งผลกับเว็บไซด์หรือระบบเมลโดยตรง ควรปรึกษาเจ้าหน้าที่หรือผู้มีความรู้ทางด้าน Networkขั้นตอนการตั้งค่า DNS Management มีดังนี้1. Login เข้าสู่ระบบที่ https://netway.co.th/clientarea/ จากนั้นเลือกที่ Dashboard > Domain ตามรูป View File
Agenda ใช้ VPS Server เพื่อทำอะไร ทำไมต้องใช้ VPS Server ตัวอย่างการทำ VPS Server เป็น Share Hosting ใช้ VPS Server ทำอะไรได้บ้าง ขอนำเสนอการใช้ VPS Server สำหรับนักพัฒนาเว็บไซต์เป็นหลัก เพื่อรันเว็บไซต์ที่ใช้ Environment ที่แตกต่างกัน เช่น PHP 5.6, PHP 7.2 ต้องการมี Web Service ใช้ภายในองค์กร เช่น โปรแกรม Helpdesk, โปรแกรม HR ใช้เป็นเครื่องทดสอบสำหรับ Developer เพื่อจำลองโครงสร้างคล้าย Share Hosting เพื่อเพิ่มความรู้ของเจ้าหน้าที่ นักพัฒณา ให้คุ้นเคยกับการทำงานกับระบบ Server จริง และเพื่อรวม Service ส่วนกลางให้อยู่ในที่เดียวกัน สามารถเข้าถึงได้ง่าย เช่น การ Shell เข้าไปตรวจสอบปัญหา ทำไมต้องใช้ VPS Server เมื่อ Share Hosting ไม่สามารถรองรับความต้องการที่หลากหลายได้ เมื่อเทียบกับ Share Hosting คือการรวม Web Service ขององค์กรมาไว้ทำให้ง่ายต่อการจัดการ สามารถขยายทรัพยากรได้ง่ายกว่า เช่น Memory, CPU เพื่อเลือกติดตั้งโปรแกรมเสริม เช่น NodeJS เพื่อคงสถานะให้ระบบทำงานได้ เช่น Share Hosting จะ Update แต่ระบบที่ใช้ยังไม่สามารถ Update ตามได้ สามารถเข้าไปตรวจสอบการทำงานของระบบ และการ Monitor Error Log ต่างๆได้ดีกว่า การทำ VPS Server เป็น Share Hosting ทำ VPS Server ให้รองรับบริการ Web Server, FTP Server หลายๆ Account ได้ง่ายๆ สร้าง Child Name Server มี DNS เป็นชื่อโดเมนของตัวเองได้ เราสามารถมี DNS Server ด้วย VPS Server ของเราเองได้ เช่น VPS Server ของเรา IP 203.78.98.145 และมีโดเมนชื่อว่า wordpressthaihost.net ต้องการมี DNS ชื่อว่า dns1.wordpressthaihost.net, dns2.wordpressthaihost.net ให้เข้าไปจัดการ Domain เพิ่ม Child Name Server (สอบถามเพิ่มเติมที่เจ้าหน้าที่ support Netway) ให้ตั้งชื่อว่า name: dns1.wordpressthaihost.net ip: 203.78.98.145 จากนั้นตั้งค่า Name Server ให้กับโดเมนของเรา ให้ระบุเป็น dns1.wordpressthaihost.net, dns2.wordpressthaihost.net ตามที่ได้สร้างไว้ที่ Child Name Server รอสักครู่ระบบ DNS ทั่วโลกจะได้รับการ Update ในตอนนี้ถ้าลอง Ping wordpressthaihost.net จะยังไม่มี Respond ใดๆเพราะเรายังไม่ได้จัดการ VPS Server ติดตั้ง Webmin Webmin เป็น Control Panel ในการตั้งค่าระบบบน Server ทำการ Shell ไปที่เครื่อง VPS (Base on CentOS 7)test1@test1:~$ ssh root@203.78.103.28 ติดตั้ง Webmin อ้างอิงInstalling the RPM[root@demops ~]# wget http://prdownloads.sourceforge.net/webadmin/webmin-1.920-1.noarch.rpm[root@demops ~]# yum -y install perl perl-Net-SSLeay openssl perl-IO-Tty perl-Encode-Detect perl-Data-Dumper[root@demops ~]# rpm -U webmin-1.920-1.noarch.rpm จะเห็นว่า Webmin ให้เราเรียก https://demops.thaivps.com:10000/ แต่โดเมนของเราเป็น wordpressthaihost.net เราจะต้องแก้ไข /etc/hosts ให้เป็นโดเมนของเราก่อน[root@demops ~]# nano -w /etc/hostsเพิ่ม203.78.103.28 wordpressthaihost.net บาง Server อาจจะติดตั้ง Firewall มาก่อน เรายังเรียก https://wordpressthaihost.net:10000 ไม่ได้ให้ allow port 10000 ด้วยก่อน[root@demops ~]# firewall-cmd --zone=public --add-port=10000/tcp --permanent[root@demops ~]# firewall-cmd –reload จากนั้นลองเรียก Webmin https://wordpressthaihost.net:10000 เราจะได้ตัวจัดการ VPS Server ไว้ใช้งาน ติดตั้ง Virtualmin Virtualmin ตัวช่วยจัดการ User และ Domain บน VPS Server Webmin เป็นเพียงตัวจัดการ Server ถ้าอยากให้ Server ของเราสามารถสร้าง Account ได้เหมือน Share Hosting จะต้องติดตั้ง Virtualmin เพิ่มเติม Virtualmin จะทำงานเหมือนเราให้บริการ Share Hosting คือ เพิ่มโดเมนอื่นเข้ามาใน Server ได้ เพิ่มโดเมนย่อยได้ สร้าง User ให้เข้ามาจัดการ Resource บน Server ตามที่ได้รับอนุญาตได้ หรือจะเข้าใช้งาน Web Mail ภายใต้โดเมนของเขาเองได้ (จะยังไม่ขอกล่าวถึง) ทำการ download และติดตั้ง Virtualmin[root@demops ~]# wget http://software.virtualmin.com/gpl/scripts/install.sh[root@demops ~]# chmod +x install.sh[root@demops ~]# ./install.sh restart Webmin อีกครั้ง[root@demops ~]# service webmin restart เมื่อเข้า Webmin ผ่าน Webbrowser อีกครั้ง Icon Virtualmin จะปรากฏขึ้นมา Post-Installation Wizard ตั้งค่าเริ่มต้นให้เหมาะสม เพื่อจบขั้นตอนการติดตั้ง Virtualmin ให้ CPU เป็นตัวจัดการการ Load Library ไปก่อนเนื่องจากหน่วยความจำเราจำกัด ให้ CPU เป็นตัวจัดการตัว Scan Virus ไปก่อน ให้ CPU เป็นตัวจัดการตัว ป้องกัน Spam อีเมลไปก่อน ให้ Memory เป็นตัวจัดการ MySQL Database ตัง Root Password สำหรับ MySQL (อาจจะมีเรื่อง Connection Error สามารถกดกลับไปเริ่ม Post-Installation Wizard อีกครั้งได้ ไม่ต้องตกใจ) กำหนด Memory ที่จะให้ MySQL Database สามารถเรียกใช้งานได้ตั้งไว้ที่ 1G ได้เลยสำหรับคนใช้ Server ทำเว็บไซต์เกี่ยวกับ DNS ให้ทำการ Skip Check for Resolvability ไปก่อน ส่วนสุดท้ายระบุวิธีการเก็บรหัสผ่านจะให้เป็น Text หรือ เข้ารหัส ลองสร้าง Hosting Plan จำกัด Resource ให้แต่ละ Domain ใช้งานเหมือยเราเป็นผู้ให้บริการ Share Hosting สร้าง Account Plan เพื่อจำกัดทรัพยากรบน Server ให้ไปที่Virtualmin -> System Settings -> Account Plans -> Add a new Account Plan Create Virtual Server สร้าง Account บน Server เหมือนเป็นผู้ให้บริการ Hosting ที่สามารถ ftp เข้ามา Upload File เว็บไซต์ใด้ มีการเรียกใช้ฐานข้อมูล MySQl ได้จริง ไปที่ Virtualmin Create Virtual Server ระบุชื่อโดเมน (เจ้าของโดเมนจะต้องตั้ง Nameserver ชึ้มาที่ Server เราด้วย เช่น dsn1.wordpressthaihost.net, dsn2.wordpressthaihost.net, ) ตั้งรหัสผ่านให้ Account เลือก Hosting plan ตามที่ได้เตรียมไว้ เลือก User แบบ Custom ให้เหมือนกับระบบ Server จริง เช่น Wordpress กด Create Server สามารถที่จะเลือก Feature อื่นๆได้ตามต้องการ ดูรายชื่อ Domain ที่ใช้งานอยู่กับ Server ที่ Virtualmin -> List Virtual Servers Enable SSL ให้ Account เปิด Let's Encrypt ให้ User สามารถใช้งาน SSL ได้ฟรี ติดตั้ง Certbot ดูเอกสารอ้างอิง [root@demops ~]# yum install certbot[root@demops ~]# service webmin restart Enable SSL ให้ Account ไปที่ Virtualmin เลือก Ddomain ที่ต้องการ Enable คลิก Edit Virtual Server เลือก enable feature "Apache SSL website enabled?" ทำการบันทึก สามารถ Request SSL แทน User ได้ (ขอยกไปหมวด User Request SSL เอง) User ใช้งาน Control Panel Webmin เป็น Free Control Panel ที่รองรับการเข้าจัดการ Server ด้วย User Account Webmin ยังอนุญาติให้ user เข้ามาจัดการ account ของตัวเองได้เหมือน control panel อื่นๆ โดยใช้ Username และ Password ที่เพิ่มเข้าตอน Create Virtual Server ผ่าน URL: https://wordpressthaihost.net:10000Username: wordpressPassword: xxxxxxxxx User Enable SSL ให้เว็บไซต์ ทำให้เว็บไซต์เรียก https ได้ ให้ไปที่ Virtualmin -> Server Configuration -> SSL Certificate -> Let's Encrypt ระบุโดเมน และ โดเมนย่อยที่ต้องการใช้ SSL (ใช้ Default ไปก่อนได้) เลือกจำนวนเดือนที่จะให้ทำการ Auto Request SSL อีกครั้ง (ใช้ Default ไปก่อนได้) ทำการ Request Certificate ระบบ Let's Encrypt จะออก Certificate ให้เท่านี้เว็บไซต์ก็สามารถเรียกใช้งาน https://wordpressthaihost.net ได้ https://wordpressthaihost.net ลองติดตั้ง Wordpress User สามารถติดตั้ง Web Application ได้เหมือน Share Hosting สร้าง Database ไปที่ Virtualmin -> Edit Databases -> Create a new database Upload ไฟล์ผ่าน FTP FTP Server: wordpressthaihost.net Username: wordpress Password: xxxxx User สามารถเรียกเว็บไซต์ https://wordpressthaihost.net เพื่อติดตั้ง Wordpress ได้เป็นปกติ ลองติดตั้ง Service อื่น เนื่องจากเป็น VPS Server ของเราเองเราสามารถติดตั้ง Service เสริมอื่นๆได้เสมอ ติดตั้ง NodeJS ติดตั้ง NodeJS แบบ "Node Version Manager"[root@demops ~]# curl -o- https://raw.githubusercontent.com/nvm-sh/nvm/v0.34.0/install.sh | bash[root@demops ~]# nvm list-remote[root@demops ~]# nvm install v10.16.0[root@demops ~]# node --version จะได้ v10.16.0 __________________________________________________________________________________________________ Netway Communication ให้บริการด้าน Cloud และ IT พื้นฐานสำหรับธุรกิจ เป็นตัวแทนแบรนด์ไอทีชั้นนำมากมาย ทั้ง Microsoft, Google, Zendesk, Digicert, ฯลฯ เรามีเจ้าหน้าที่พร้อมดูแลคุณ 24 ชม. ติดต่อเราเพื่อสอบถามผลิตภัณฑ์ ขอราคา หรือปรึกษาเรื่องไอที ได้เลยค่ะ Line : @netway (มี @ ด้านหน้า) หรือ https://bit.ly/line-netwayFacebook : m.me/netway.offcialTel : 02-055-1095Email : support@netway.co.thWeb Chat : [[URL]]/ #ให้เราช่วยคุณเรื่องไอที #การสื่อสาร Netway #มีครบจบที่เดียว #Office365 #Microsoft #Google #Zendesk #Digicert
ถ้าโควิดกลับมา แล้วเราจะไปต่อและทำงานกันอย่างไร?? Microsoft Teams ที่มาพร้อม Microsoft 365 ช่วยให้คุณไม่ต้องเสียแรง เสียเวลาคิดหาคำตอบเรื่องนี้ ปี 2020 พวกเราทุกคนต้องเผชิญกับ COVID-19 ต้องปรับตัวกันหลายด้าน อึ้งไปกับ Digital Disruption กันแบบไม่ทันตั้งตัว ดังนั้น เพื่อให้มั่นใจได้ว่าธุรกิจการงานของเราจะไม่สะดุด ในปีใหม่ที่จะมาถึงนี้ Netway Communication ขอแนะนำ Microsoft365 ที่มาพร้อมความคุ้มค่า และราคามิตรภาพ ด้วยข้อดีต่อไปนี้ . 1.ช่วยลดระยะเวลาการทำงานต่อวัน พนักงานส่วนใหญ่เมื่อทำงานแล้วจะเสียเวลาถึง 60% ในการสลับแอพไปมา ถ้าจะให้รวมเวลาเหล่านั้นเข้าด้วยกัน จะเสียเวลาไปมากถึง 32 วันต่อปีเลยทีเดียวMicrosoft Teams จะช่วยเข้ามาสนับสนุนการทำงานของพนักงานในบริษัทคุณให้มีการเชื่อมต่อร่วมกันได้อย่างดี Microsoft Teams เชื่อว่าเทคโนโลยีควรทำให้พนักงานสามาถทำงานของตัวเองได้อย่างอิสระ 2.เชื่อมต่อจากทุกที่ได้อย่างปลอดภัย การทำงานคนเดียวได้เป็นสิ่งที่ดี แต่การทำงานเป็นทีมได้เป็นสิ่งที่สำคัญกว่า แน่นอนว่าคนเราไม่สามารถหลีกเลี่ยงการทำงานเป็นทีมได้ ถึงแม้จะมี social distancing มากั้นไว้ก็ตาม แต่เราจะทำลายกำแพงการสื่อสารนั้นได้อย่างไร นี่เป็นเรื่องที่นายจ้างทุกคนเป็นกังวล Microsoft Teams จะช่วยปรับปรุุงการสื่อสารและการทำงานเป็นทีมโดยการปรับปรุง การเข้าถึงข้อมูลและเครื่องมือที่คุณต้องการผ่าน Microsoft Teams ได้อย่างมีความปลอดภัย 3.ลดอุปสรรคในการทำงานเป็นทีม Microsoft Teams เป็นคุณสมบัติส่วนหนึ่งของ Microsoft 365 ที่ให้วิธีการทำงานใกล้ชิดกับมนุษย์มากยิ่งขึ้น โดยอำนวยความสะดวกในการสื่อสารและการทำงานเป็นทีมทุกที่ทุกเวลา ด้วยเหตุนี้จึงทำให้การขจัดอุปสรรคในการทำงานร่วมกันได้ดี เหมาะกับสถาณการณ์ COVID-19 แบบนี้มากๆค่ะ 4.สร้างความปลอดภัยที่ดีที่สุด เมื่อเราต้องเชื่อมต่อกับอุปกรณ์ หรือใช้ช่องทางต่างๆมากมายในการสื่อสาร การรักษาความปลอดภัยของข้อมูลทั้งของลูกค้า และข้อมูลธุรกิจคุณ เป็นสิ่งที่สำคัญอันดับต้นๆที่คนทุกคนจะต้องตระหนักถึง เราจึงจำเป็นต้องหาพื้นที่ที่คุณและคนในองค์กรสามารถแบ่งปัญเอกสารสำคัญ โดยที่ไม่ต้องกังวลว่าจะถูกบุกรุกหรือไม่ Microsoft Teams จะให้ความปลอดภัยระดับองค์กรที่จะช่วยรักษาข้อมูลของลูกค้าและของคุณให้ปลอดภัยโดยไม่รบกวนลำดับงาน 5.ลดความซับซ้อนให้เป็น Automation “การทำงานร่วมกัน”, “ประสิทธิภาพการทำงาน”, “ความปลอดภัย” Microsoft Teams สนับสนุนวิธีการทำงานของทีมโดยนำเครื่องมือและข้อมูลที่คุณต้องใช้ มารวมไว้ในตำแหน่งที่คุณสามารถจัดการได้ง่าย เพิ่มศักยภาพให้กับพนักงานในองค์กรของคุณด้วยเครื่องมือเพิ่มประสิทธิภาพในการทำงาน และสบายใจด้วยความปลอดภัยที่ถูกสร้างขึ้นมาในทุกเครื่องมือ แค่นี้ คุณก็สามารถทำงานได้ดีขึ้น ในทุกๆเหตุการณ์แล้ว!! __________________________________________________________________________________________________ หากคุณสงสัยอยากทราบข้อมูลการใช้งานเพิ่มเติมหรือต้องการให้ Netway Communication ประเมินภาพรวมว่าควรใช้ Microsoft 365 หรือซอฟต์แวร์แบบใด สามารถติดต่อกับเจ้าหน้าที่ได้ตลอด 24 ชม. ที่ Line : @netway (มี @ ด้านหน้า) หรือ https://bit.ly/line-netwayFacebook : m.me/netway.offcialTel : 02-055-1095Email : support@netway.co.thWeb Chat : https://netway.co.th/
สวัสดีทุกๆ ท่านครับ วันนี้เน็ตเวย์คอมมูนิเคชั่นจะมาแนะนำเมนู Message Trace บน Microsoft Admin Center ที่สามารถตรวจสอบว่าเราได้รับอีเมลหรือไม่ และสามารถส่งไปหาได้หรือไม่ที่เมนูนี้ครับ พร้อมกันรึยังครับ! สำหรับขั้นตอนการใช้งานมีเพียง 7 ขั้นตอนง่ายๆ ดังนี้ครับ เข้าอีเมลของท่านด้วย คลิก >> office.com (สำหรับ Admin เท่านั้น) เลือกเมนู Admin เพื่อเข้า Exchange admin center ไปที่ Dashboard เลือกเมนู Mail Flow และหัวข้อ Message Trace กำหนดเงื่อนไขในการสืบค้น รายละเอียดดังนี้- Date rangs = สามารถกำหนดเพื่อค้นหาข้อความที่ ส่งหรือรับภายใน 24 ชั่วโมง, 48 ชั่วโมง, 7 วัน, หรือกำหนดเองภายใน 90 วันที่ผ่านมา- Time zone = เลือกช่วงเวลาของประเทศที่ต้องการค้นหา (แนะนำเป็น UTC +7 Bangkok,)- Delivery status = เลือกเงื่อนไขสถานะการตรวจสอบ (แนะนำ All)- Message ID: = หากท่านทราบ ID ของข้อความสามารถนำมาตรวจใส่ที่ช่องนี้และตรวจสอบได้ทันที Sender และ Recipent = ระบุข้อความจากหรือถึงบุคคลหรือกลุ่ม ใช้ที่อยู่อีเมลแบบเต็มหรือสัญลักษณ์แทนในรูปแบบ: *@contoso.com เมื่อระบุสัญลักษณ์แทนจะไม่สามารถใช้ที่อยู่อื่นได้ เมื่อท่านใส่ข้อมูลที่ต้องการตรวจสอบแล้วให้คลิกที่ปุ่ม Search แล้วระบบจะตรวจสอบให้อัตโนมัติ เราสามารถกดดับเบิ้ลคลิกที่รายการแสดงเพื่อดูรายละเอียดต่างๆ ได้ดังนี้ ดูรายละเอียด Message Trace เพิ่มเติมจากทาง Microsoft365 ได้ที่คลิก >> Message trace in the Security & Compliance Centerง่ายใช่ไหมครับ เพียงแค่ 7 ขั้นตอนเราก็สามารถตรวจสอบข้อความ รับ/ส่ง อีเมล บน Exchange Admin Center ได้ตัวตนเอง ประโยนช์ที่จะได้รับเราสามารถนำข้อมูลต่างๆ มาวิเคราะห์เหตุการณ์ที่เกิดขึ้นเพื่อนำแก้ไขปัญหาได้ทันท่วงที ฝากติดตามเน็ตเวย์ฯ และโอกาสจะมีข้อมูลดีๆ และการใช้งานต่างๆ มานำเสนออีก สำหรับวันนี้ สวัสดีครับทุกท่าน รับชม Video > ช่องทางติดต่อเน็ตเวย์ คอมมูนิเคชั่น Line : @netway (มี @ ด้านหน้า) หรือ https://bit.ly/line-netway Facebook : m.me/netway.offcial Tel : 02-0551095Email : support@netway.co.th Web Chat : [[URL]]/ #เน็ตเวย์ช่วยคุณได้ #Support24ชั่วโมง