ขั้นตอนการติดตั้ง ทำตามลิ้งค์นี้ https://doc.freenas.org/11/install.html#performing-the-installation แล้วต้องทำการ custom config ค่า IP Address ตาม link นี้ครับ https://doc.freenas.org/11/quick.html#
วิธีการสร้าง storage backup ของ cpanel เข้าไปที่ Freenas >> Storage >> Create Dataset กด Create Dataset กำหนดค่าโดยให้ใส่ชื่อเป็นชื่อเครื่อง แล้วกด Add Dataset จากนั้นให้ทำการ change permissions เมื่อทำการ change permissions เสร็จแล้ว ให้ไปที่ Freenas >> Sharing >> UNIX (NFS) ทำการ Add Unix (NFS) share กำหนดค่า path และทำการ allow IP เครื่อง server ที่เราเลือก จากนั้นให้ทำการ login ssh เข้าไปที่เครื่อง server แล้วทำการติดตั้ง nfs-utils โดยใช้คำสั่ง yum install nfs-utils จากนั้นให้ทำการ allow ip เครื่อง freenas ใน csf โดยให้ทำการ add ip 203.78.99.43 ไปที่ ไฟล์ /etc/csf/csf.allow แล้วให้ทำการ restart csf *** หมายเหตุ ในส่วนนี้ต้องเข้าไปเพิ่มค่า allow ip ของเครื่อง freenas ใน /root/script/localConfig/netway38.netway.co.th/csf.additional.allow ด้วยครับ เพราะเมื่อมีการ run /root/script/myupcp.pl จะทำให้ ค่า IP ที่ทำการ allow หายไป จากนั้นให้ทำการกำหนดค่า mount point ของ path ที่จะให้ทำการ backup ในที่นี้เราจะกำหนดเป็น /backup/ชื่อเครื่อง เมื่อเรากำหนด path ที่จะให้ทำการ backup แล้วให้เราไปทำการตั้งค่า mount point ใน /etc/fstab แล้วทำการเพิ่มค่า 203.78.99.43:/mnt/backup/netway38 /backup/netway38 nfs defaults,noauto 0 0 *หมายเหตุ ถ้าเป็น centos6 จะไม่ support nfs version 4 ให้เรากำหนดค่า ใน /etc/fstab โดยกำหนดให้เป็น nfsvers=3 ถึงจะสามารถอ่านเขียนข้อมูลได้ 203.78.99.43:/mnt/backup/netway29 /backup/netway29 nfs nfsvers=3 0 0 จากนั้นให้เราลองทำการ mount path backup ขึ้นมาดูว่าสามารถ จะ mount ได้หรือไม่ และทำการ เขียนไฟล์ลงไปได้หรือไม่ จากนั้นให้เราไปทำการตั้งค่า ใน cPanel & WHM ให้เข้าไปที่ Home »Backup »Backup Configuration แล้วทำการตั้งค่า ซึ่งในที่นี้เราจะทำการกำหนดค่าเป็น Incremental เพื่อความเร็วในการ backup และเรื่องเครื่อง overload แล้วทำการ save ค่า config
ขั้นตอน Backup Restoration ของ cpanel ให้ทำการ login cPanel/WHM แล้วไปที่ Home »Backup »Backup Restoration ซึ่ง เมื่อทำการ เข้าไปที่ Backup Restoration อาจจะไม่เห็น account ที่จะทำการ restore เราจะต้องทำการ mount path backup ขึ้นมาก่อน โดยใช้คำสั่ง mount /backup/netway42 เมื่อทำการ mount path backup ขึ้นมาแล้ว จะเห็นว่ามี account ขึ้นมา เราสามารถเลือก account ที่จะทำการ restore ข้อมูลได้ ให้กดเลือก account ที่ต้องการจะ restore เลือกวันที่ แล้วกด Add Account to Queue ซึ่งจะเห็นใน Restoration Queue จะมี account ขึ้นมา จากนั้นให้กด Restore รอจนเสร็จ ก็สามารถ restore ข้อมูลที่เราต้องการแล้วครับ
ปัญหา backup process failed : system failed to lock The backup process failed. : The system failed to lock (LOCK_EX, LOCK_NB) the file “/backup/netway31/.backupmount_locks” ทางแก้ปัญหา เมื่อ script error จะมีการสร้างไฟล์ /backup/netway31/.backupmount_locks ขึ้นมา ให้เข้าไปลบไฟล์ จากนั้นให้ทำการ umount disk ออกแล้วทำการ restart service rpcbind แล้วให้ทดสอบ mount disk backup ขึ้นมา เมื่อสามารถ mount disk ได้แล้วก็สามารถ run backup ได้ปกติครับ สาเหตุของปัญหา เกิดจาก การที่ตัว script backup ไม่สามารถ ทำการ mount disk backup ขึ้นมาได้
1. รายละเอียดบริการ เป็นบริการดูแล, Monitoring และ Hardening Server รวมถึง Report สำหรับ Windows Server เพื่อแก้ไขปัญหา ป้องกันปัญหา และใช้ทรัพยากรของเครื่อง Server ให้มีประสิทธิ์ภาพสูงสุด 2. ขั้นตอนการสั่งซื้อหรือร้องขอ ลูกค้าสามารถสั่งซื้อ Windows Manage Server Service ได้หลายช่องทางดังนี้ โทรติดต่อฝ่ายขาย 02-055-1095 ส่งเมล์มาที่ support@netway.co.th 3. เงื่อนไขในการส่งมอบและระยะเวลาในการดำเนินการ หลังชำระค่าบริการ (วิธีชำระค่าบริการ) ท่านจะพร้อมใช้งานใน 4 ชั่วโมง 4. บริการอื่น ๆ ที่เกียวข้อง บริการ Control Panel Plesk บริการ Addon Service Kaspersky Antivirus บริการอื่นๆ ค่าติดตั้ง ฟรี Reload OS ฟรี MailEnable Standard License ฟรี 5. ข้อห้ามในการใช้บริการ เงื่อนไขการให้บริการ 6. การรับประกัน / คืนเงิน มาตรฐานการให้บริการ SLA และการรับประกัน