สำหรับผู้ที่ใช้งาน cPanel Hosting สามารถจัดการจัดการอีเมลของท่านด้วยระบบ Webmail เพียงง่ายใน 3 ขั้นตอน ชั้นตอนการเข้าใช้งาน Webmail เปิดบราวเซอร์ที่คุณใช้งานเช่น Google Chrome, Firefox ,Internet Expoler ,Microsoft Edge,และอื่นๆ ชื่อเวบไซต์(โดเมน) ของท่านตัวอย่างเช่น yourdomain.com/webmail หรือ yourdomain.com:2096 3. กรอกชื่ออีเมล และรหัสผ่าน ของท่านเพียงเท่านี้ก็สามารถใช้งานได้แล้วครับ **ปัจจุบัน Webmail ไม่รองรับการใช้งานอีเมลบนระบบ Horde ครับรับชม Video >
สำหรับผู้ที่ใช้งาน cPanel Hosting สามารถจัดการจัดการข้อมูลต่างๆ ได้เช่น เว็บไซต์, อีเมล, และการตั้งค่าต่างๆได้ สามารถตรวจสอบสถิติการเยี่ยมชมเว็บไซต์ได้ที่ AWstats ได้อีกด้วย ชั้นตอนการเข้าใช้งาน cPanel Hosting เปิดบราวเซอร์ที่คุณใช้งานเช่น Google Chrome, Firefox หรือ Internet Expoler ชื่อเวบไซต์(โดเมน) ของท่านตัวอย่างเช่น yourwebsite.com/cpanel 3. กรอกชื่อ และรหัสผ่าน cPanel Hosting ของท่านเพียงเท่านี้ก็สามารถใช้งานได้แล้วครับ รับชม Video >
วิธีการใช้งานเมนู cPanel Web Disk ในการ Transfer file 1. ทำการ Login cPanel จากนั้นไปที่เมนู Web Disk 2. จากนั้นให้ทำการ Click >> Configure Client Access 3. ทำการเลือก OS ที่ลูกค้ากำลังใช้งาน จากนั้นให้ทำการ Click >> Download Configuration Script เมื่อทำการ Download เรียบร้อยแล้วจะได้ File Config ให้ทำการเปิด File นั้นเพื่อทำการ Connect Server รับชม Video > หากสนใจโปรแกรมหรือต้องการคำแนะนำ คุณสามารถทักหาเราเข้ามาได้เลยค่ะ เรามีเจ้าหน้าที่พร้อมแนะนำตลอด 24 ชั่วโมง ช่องทางติดต่อเน็ตเวย์ คอมมูนิเคชั่น Line : @netway (มี @ ด้านหน้า) หรือ https://bit.ly/line-netway Facebook : m.me/netway.offcial Tel : 02-055-1095 Email : support@netway.co.th Web Chat : [[URL]]/ #เน็ตเวย์ช่วยคุณได้ #Support24ชั่วโมง
วิธีการใช้งาน SFTP – SSH Secure File Transfer Protocol 1. ทำการเปิดโปรแกรม FileZilla เพื่อใช้ในการ Connect SFTP 2. จากนั้นไปที่ Menu File >> Site Manager 3. ทำการ Click >> New Site และกรอกข้อมูล Host : ใส่ชื่อ domain หรือ ip server ที่ใช้งาน เช่น netway.co.th หรือ 203.78.xx.xxPort : ทำการใส่ SSH Port ที่ Server ใช้งานProtocol : เลือก SFTP - SSH File Transfer ProtocolLogon Type : เลือก Ask for passwordUser : กรอกข้อมูล User cPanel ที่ได้รับPassword : กรอกข้อมูล Password cPanel ที่ได้รับ เมื่อดำเนินการกรอกข้อมูลครบถ้วนทั้งหมดแล้วจะสามารถใช้งาน SFTP และTransfer file ได้ปกติครับรับชม Video > หากสนใจโปรแกรมหรือต้องการคำแนะนำ คุณสามารถทักหาเราเข้ามาได้เลยค่ะ เรามีเจ้าหน้าที่พร้อมแนะนำตลอด 24 ชั่วโมง ช่องทางติดต่อเน็ตเวย์ คอมมูนิเคชั่น Line : @netway (มี @ ด้านหน้า) หรือ https://bit.ly/line-netway Facebook : m.me/netway.offcial Tel : 02-055-1095 Email : support@netway.co.th Web Chat : [[URL]]/ #เน็ตเวย์ช่วยคุณได้ #Support24ชั่วโมง
วิธี Migrate laravel to cPanel sharehosting การนำข้อมูลมาที่ cPanel sharehosting 1. ให้ทำการ Download ข้อมูล Website มาให้ครบถ้วน - หากสามารถทำการ Ftp access ได้ให้ทำการ Ftp ข้อมูลในส่วนของ /var/www/html มาทั้งหมด - หากสามารถ Root access ได้สามารถใช้งาน Scp หรือ Rync ข้อมูลมาได้ [root@system ~]# rsync -avz -e 'ssh -p 22' root@xxx.xxx.xxx.xxx:/var/www/html/user /home/ 2. ให้ทำการ Export database ที่ใช้งานออกมาจาก Server เดิม - หากสามารถทำการ access phpMyadmin ได้ให้ทำการ Export database.sql ออกมา - หากไม่สามารถทำการ access phpMyadmin ได้ให้ทำการใช้ command [root@system ~]# cd /var/lib/mysql [root@system ~]# mysqldump -u root -p databases > database.sql ** วิธีนี้ต้องทราบ Mysql root password ** 3. เมื่อได้ข้อมูลครบถ้วนทั้งหมดแล้วให้ทำการ Create account บน cPanel ขึ้นมา 4. เมื่อ Create account บน cPanel เรียบร้อยแล้วให้ทำการย้ายข้อมูล Website ที่ได้มาก่อนหน้านี้ไปไว้ที่ [root@system ~]# mv Part data /home/user/public_html 5. ทำการ Create database และ Import database ที่ได้มาก่อนหน้านี้ - ในส่วนของขั้นตอนนี้สามารถดำเนินการได้บน cPanel การจัด Structure ของข้อมูลให้ถูกต้อง 1. ทำการสร้าง Directory laravel [root@system ~]# mkdir /home/user/laravel 2. ทำการย้ายข้อมูลท้้งหมดที่อยู่ใน public_html ไปไว้ที่ directory : laravel ยกเว้น Directory : public ยังไม่ต้องนำมา [root@system ~]# cd /home/user/public_html [root@system ~]# mv app artisan bootstrap cgi-bin composer.json composer.lock config database .env gulpfile.js maxi.sql node_modules package.json phpunit.xml readme.md resources server.php storage tests uploads vendor /home/user/laravel 3. ทำการย้ายข้อมูลท้้งหมดที่อยู่ใน /home/user/public_html/public ไปไว้ที่ directory : /home/user/public_html [root@system ~]# cd /home/user/public_html/public [root@system ~]# mv * /home/user/public_html 4. ทำการแก้ไขไฟล์ index.php [root@system ~]# nano -w /home/user/public_html/index.php แก้ไขจาก require __DIR__.'/../bootstrap/autoload.php';เป็น require __DIR__.'/../laravel/bootstrap/autoload.php'; แก้ไขจาก $app = require_once __DIR__.'/../bootstrap/app.php';เป็น $app = require_once __DIR__.'/../laravel/bootstrap/app.php'; 5. ทำการแก้ไขไฟล์ Config database [root@system ~]# nano -w /home/user/laravel/.env DB_CONNECTION=mysqlDB_HOST=localhostDB_PORT=3306DB_DATABASE=nutthawa_test ** แก้ไข Database name **DB_USERNAME=nutthawa_test ** แก้ไข Database user **DB_PASSWORD=q={Xa#ilKq8C ** แก้ไข Database password ** 6. ทำการสร้าง symbolic link เพื่อให้สามารถ Update ข้อมูลใหม่ๆได้ [root@system ~]# ln -s /home/user/laravel/storage/app/public /home/user/public_html/storage [root@system ~]# chown -h user:user /home/user/public_html/storage