ข้อกำหนดเบื้องต้น Server ของคุณต้องมีการเปิดใช้งาน SSH (secure shell) ฐานะ root ปัจจุบัน Node.js รองรับ CentOS 6.x สามารถตรวจสอบ OS Version ผ่าน ssh จากนั้นพิมพ์คำสั่งต่อไปนี้ ขั้นตอนการติดตั้ง 1. Login SSH (secure shell)2. พิมพ์คำสั่งต่อไปนี้ $ wget https://nodejs.org/dist/v4.4.1/node-v4.4.1-linux-x64.tar.xz(คำสั่งดังกล่าวเป็นการดาวน์โหลด Node.js เวอร์ชั่น 4.4.1 LTS เท่านั้น **หากคุณต้องการเวอร์ชั่นอื่นๆ ให้เปลี่ยนหมายเลขเวอร์ชั่นในคำสั่งที่คุณต้องการดาวน์โหลด คุณสามารถตรวจสอบเวอร์ชั่นที่ต้องการได้ที่ https://nodejs.org)3. Extract File node-v4.4.1-linux-x64.tar.xz พิมพ์คำสั่งต่อไปนี้ $ tar xvf node-v4.4.1-linux-x64.tar.xz4. หากต้องการเปลี่ยนชื่อเพื่อง่ายต่อการสะดวก พิมพ์คำสั่งต่อไปนี้ $ mv node-v4.4.1-linux-x64 nodejs5. Install node และ npm พิมพ์คำสั่งต่อไปนี้$ mkdir ~/bin$ cp nodejs/bin/node ~/bin$ cd ~/bin$ ln -s ../nodejs/lib/node_modules/npm/bin/npm-cli.js npm6. หลังจากรันคำสั่งนี้ระบบจะติดต่อ Node.js และ NPM ให้ และหากต้องการตรวจสอบให้พิมพ์คำสั่งต่อไปนี้$ node --version$ npm --version ขั้นตอนการเริ่มใช้งาน Node.js (Stating a Node.js Application)หลังจากติดตั้ง Node.js สามารถเรียกใช้ Node.js ได้ยกตัวอย่างเช่นวิธีที่ 1 : Use npm"Many third-party and “production-ready” applications (such as Ghost) use the npm program to start the application"ตัวอย่างตามคำสั่งต่อไปนี้$ nohup npm start --production &(วิธีนี้ต้องมีไฟล์ package .json ที่พร้อมใช้เพื่อรองรับ)วิธีที่ 2 : Run Node โดยตรง"For simple applications, or for any application that does not have a package.json file, you can run the node executable directly and specify the application filename."ตัวอย่างตามคำสั่งต่อไปนี้$ nohup node my_app.js & วิธีการหยุด Node.js (Stopping a Node.js Application) ให้พิมพ์ตำสั่งต่อไปนี้$ pkill node วิธี Integrating a Node.js Application with The Web Server.ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับประเภทของแอ๊พพลิเคชั่นที่ใช้งาน เช่นตัวอย่างแก้ไขข้อความในไฟล์ .htaccess 1. ตัวอย่าง ที่ไฟล์ .htaccess ให้เพิ่มข้อความบรรทัดต่อไปนี้ ในไดเร็กทอรี่ /home/username/public_html RewriteEngine On RewriteRule ^$ http://127.0.0.1:XXXXX/ [P,L] RewriteCond %{REQUEST_FILENAME} !-f RewriteCond %{REQUEST_FILENAME} !-d RewriteRule ^(.*)$ http://127.0.0.1:XXXXX/$1 [P,L](ในบรรทัด RewtiteRule :XXXXX ให้ระบุ Port Node.js ของคุณ)2. Save ไฟล์ .htaccess
การ Update wordpress สามารถทำได้ดังนี้ ก่อนการ Upgrade Wordpress อย่าลืม Backup ข้อมูลก่อนเสมอ ** 1. Update ผ่านหน้า Dashboard มีขั้นตอนดังนี้ 1.1 Login เข้า Wordpress (Dashboard แจ้งเตือนว่ามี WordPress เวอร์ชั่นใหม่) 1.2 กดปุ่ม Update เพื่อทำการ Update ให้เป็น version ล่าสุด (อาจจะใช้เวลา Update ซักระยะ) 1.3 จากนั้นเราจะได้ Wordpress เป็น Version ล่าสุด อ้างอิงข้อมูล : https://codex.wordpress.org/Updating_WordPress 2. Update แบบ Manual (ควร Backup ข้อมูลทั้งหมดก่อนการ Update)2.1. ดาวน์โหลด Wordpress เวอร์ชั่นใหม่มาไว้ในเครื่อง 2.2. ใช้โปรแกรม FTP (FileZilla) เข้าไปในไดเรกทอรี ที่ลง wordpress ไว้ แล้วดาวน์โหลดไฟล์ wp-config.php และ โฟลเดอร์ wp-content มาไว้ในเครื่อง (Backup ข้อมูลไว้เผื่อผิดพลาด) 2.3. ที่ FTP ในโฮสให้ลบโฟลเดอร์ wp-includes และ wp-admin ทิ้ง 2.4. นำไฟล์ wordpress version ล่าสุดที่เราดาวน์โหลดมา แตกไฟล์แล้วอัพโหลดทุกอย่างเข้าทับไฟล์เดิมบนโฮส เขียนทับทุกไฟล์ ยกเว้น ไฟล์ wp-config.php และ โฟลเดอร์ wp-content 2.5. login เข้าระบบ wordpress ทำการกด Update WordPress Database จากนั้นกด Continue ระบบก็จะให้ login เข้า wordpress อีกครั้ง หมายเหตุ : อย่าลืมดู Plugin / Theme ที่ใช้อยู่ว่ารองรับกับ WordPress เวอร์ชั่นที่กำลังจะอัพเดทด้วยหรือไม่
ก่อนการ Upgrade Joomla! อย่าลืม Backup ข้อมูลก่อนเสมอ ** 1. เมื่อมี joomla! รุ่นใหม่ออกมา ก็จะมีการเตือน เราก็สามารถกด Update Now ได้เลย Joomla! 3.8.6 is available Update Now 2. หลังจากกด Update Now ระบบจะพาหน้า Joomla update และจะแสดงข้อมูลการ Update3 3. จากนั้นกดปุ่ม Install the Update 4. ระบบจะทำการ Update Joomla! ให้จนเสร็จ (อาจจะใช้ระยะเวลาซักระยะ) 5. หลังจาก Update เรียบร้อยแล้ว ทดสอบใช้งานได้เลย หมายเหตุ บางครั้งระบบอาจจะไม่มีการแจ้งเตือน แต่สามารถเข้าไปที่ตรวจสอบได้ที่ Component --> Joomla! Update จากนั้นกดปุ่ม Clear caches / Check for updates อ้างอิงข้อมูล : https://docs.joomla.org/Special:MyLanguage/J3.x:Updating_Joomla_(Update_Method)
ดำเนินการตามขั้นตอนต่อไปนี้ 1. ดาว์นโหลดตัวโปรแกรม WordPress .zip หรือ .tar.gz ได้ที่ Link: https://wordpress.org/download/ 2. นำไฟล์ที่ดาว์นโหลดขึ้น Hosting สามารถเลือกดำเนินการได้ 3 วิธี Upload ข้อมูลผ่านระบบจัดการ Control Panel Hosting Upload โดยการใช้โปรแกรม FTP หากคุณเข้าใช้งานเซริฟเวอร์โดยฐานะ root ในระบบ OS Linux สามารถใช้คำสั่งได้ดังนี้wget https://wordpress.org/latest.zip หรือ wget https://wordpress.org/latest.tar.gz 3. ดำเนินการ Extract File ที่ดาว์นโหลดมา Extract File บนระบบจัดการ Control Panel Hosting หากคุณเข้าใช้งานเซริฟเวอร์โดยฐานะ root ในระบบ OS Linux สามารถใช้คำสั่งได้ดังนี้tar -xvzf latest.tar.gz 4. ดำเนินการสร้าง MySQL Database และ Database User เพื่อใช้เป็นข้อมูลระหว่างทำขั้นตอน Install WordPress 5. เรียกเวบไซต์ของคุณ เลือกภาษาที่ต้องการ แล้วคลิ๊กปุ่ม 6. ยืนยันและดำเนินการติดตั้ง WordPress โดยคลิ๊กที่ปุ่ม 7. ใส่รายละเอียดในการเชื่อมต่อกับ Database ของคุณที่สร้างไว้ เมื่อใส่ข้อมูลเรียบร้อยคลิ๊กที่ปุ่ม ตัวอย่าง Database Name: trainphp_wp Username: trainphp_admin Password: ************ Database Host: localhost Table Prefix: wp_ (ให้ระบุเป็น Default) 8. ใส่รายละเอียดเบื้องต้นสำหรับข้อมูลเวบไซต์ และตั้งค่าของผู้ดูแลเวบไซต์ เมื่อใส่ข้อมูลเรียบร้อยคลิ๊กที่ปุ่ม ตัวอย่าง Site Title: แนะนำให้ใส่ชื่อเวบไซต์ของคุณ เช่น(trainphp.com) Username: สร้างชื่อผู้ดูแลไซต์ Password: ************ Your Email: ใส่ชื่ออีเมลของคุณ 9. คุณสามารถเรียกใช้เวบไซต์ของคุณ และพัฒนาระบบได้ทันที หมายเหตุ Administrator Backend URL: ชื่อเวบไซต์.com/admin หรือ ชื่อเวบไซต์/wp-login.php
ดำเนินการตามขั้นตอนต่อไปนี้ 1. ดาว์นโหลดไฟล์ Installation PrestaShop ได้ที่ http://www.prestashop.com/download 2. Extract File Installation บนเครื่องคอมพิวเตอร์ของคุณ 3. Upload File ทั้งหมดขึ้น Hosting ของคุณ 4. สร้าง MySQL Database เพื่อใช้งานกับ PrestaShop 5. เรียกเวบไซต์ของคุณเพื่อทำการ Installation URL http://www.example.com/install หรือ http://www.example.com/ 6. เลือกภาษาที่ต้องการใช้งาน และคลิ๊ก Next (ภาษาสามารถเลือกเปลี่ยนได้ในภายหลัง) 7. ตรวจสอบข้อตกลงสิทธิ์ และเงื่อนไขการใช้งานเพื่อยอมรับการใช้งานจากนั้นคลิ๊กถัดไป >> 8. ภายใต้ข้อมูลเกี่ยวกับรายละเอียดของร้านค้าคุณ ให้กรอกข้อมูลที่มีข้อมูลที่เหมาะสมสำหรับการสร้างร้านค้าของคุณ 9. ภายใต้รายละเอียดบัญชีของคุณให้การรายละเอียด Username และ Password และคลิ๊ก Next 10. กรอกรายละเอียด Database Name, Database User และ Password และคลิ๊กทดสอบเชื่อมต่อฐานข้อมูล "Test you Database connected now!" 11. หากได้รับข้อมูลการทดสอบเชื่อต่อกับฐานข้อมูลได้เรียบร้อย คลิ๊ก Next คุณสามารถเรียก PrestaShop ได้ที่ http://example.com/admin/login.php, เพื่อดำเนินการสร้าง หรือการตั้งค่าๆอื่นๆเพิ่มเติมได้ทันที